มิติที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO)
|
89.68%
|
66 MJU 1.01 ความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
|
82.67%
|
1. นโยบายด้านกฎระเบียบ ข้อบังคับ
|
93.33%
|
1.1 จัดทำระเบียบการจัดเก็บและจัดสรรรายได้จากการให้บริการ
|
100.0%
|
1.1.1 ประกาศใช้ระเบียบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดเก็บและการจัดสรรเงินรายได้จากงานบริการวิชาการและการจำหน่ายผลผลิต
|
100.0%
|
1.2 ปรับปรุงข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบริการวิชาการให้คล่องตัว
และสอดคล้องกับนโยบายการจัดหารายได้ของมหาวิทยาลัย
|
90.0%
|
1.2.1 ปรับปรุงข้อบังคับว่าด้วยการบริหารงานบริการวิชาการ ให้เอื้อต่อการจัดเก็บและจัดสรรรายได้ตามระเบียบการจัดเก็บและจัดสรรรายได้จากการให้บริการฯ
|
90.0%
|
1.3 การยกร่างประมลจริยธรรมของนายกสภามหาวิทยาลัย
กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร บุคลากรของมหาวิทยาลัย
|
90.0%
|
1.3.1 ประชุมคณะกรรมการธรรมาภิบาลและจริยธรรม เพื่อวางแนวยกร่างประมวลฯ และดำเนินการยกร่างประมวลฯ และเสนอออกระเบียบ/หลักเกณฑ์ตามขั้นตอนของมหาวิทยาลัย
|
90.0%
|
2. นโยบายด้านทรัพย์สินและการเงิน
|
100.0%
|
2.1 การวางแผนธุรกิจ ระยะ 3-5 ปี
|
100.0%
|
2.2 จำแนกประเภทและวางแผนการใช้ประโยชน์ทรัพย์สินแต่ละประเภท
|
100.0%
|
2.3 กำหนดหลักเกณฑ์การลงทุนจากทรัพย์สินแต่ละประเภท
|
100.0%
|
2.3 กำหนดหลักเกณฑ์การลงทุนจากทรัพย์สินแต่ละประเภท
|
100.0%
|
2.4 แผนการใช้ประโยชน์จาก Sport Stadium ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสร้างรายได้แก่มหาวิทยาลัย
|
100.0%
|
3. นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
|
100.0%
|
3.1 พัฒนาย่านนวัตกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
100.0%
|
3.1.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์โครงการพัฒนาย่านนวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ
|
100.0%
|
3.2 การต่อยอดการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG)
|
100.0%
|
3.2.1 ความสำเร็จของการต่อยอดการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG)
|
100.0%
|
3.3 การพัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม
|
90.0%
|
3.3.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ (SMATI)
|
90.0%
|
4. นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
|
55.0%
|
4.1 แผนแม่บทวิชาการแล้วเสร็จและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนากำลังคนของประเทศ, การอุดมศึกษา, การพัฒนามหาวิทยาลัย
|
40.0%
|
4.1.1 จัดทำแผนแม่บทวิชาการ ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนากำลังคนของประเทศ, การอุดมศึกษา, การพัฒนามหาวิทยาลัย
|
40.0%
|
4.1.1 จัดทำแผนแม่บทวิชาการ ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนากำลังคนของประเทศ, การอุดมศึกษา, การพัฒนามหาวิทยาลัย
|
40.0%
|
4.2 พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
|
93.33%
|
4.2.1 หลักสูตรตาม Backward Curriculum Design
|
100.0%
|
4.2.2 ปรับปรุงข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
|
90.0%
|
4.2.3 ปรับปรุงแบบฟอร์ม มคอ. 2-6 ให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
|
90.0%
|
4.2.4 กำหนด Graduate attribute ในระดับมหาวิทยาลัย ที่เชื่อมโยงกับหมวดวิชา GE
|
%
|
4.3 การพัฒนาวิชาการสู่ความเป็นนานาชาติ
|
75.0%
|
4.3.1 หลักสูตรร่วม (Dual Degree) หลักสูตรคู่ (Double
degree)
|
90.0%
|
4.3.2 เพิ่มจำนวนบุคลากรและนักศึกษาแลกเปลี่ยน เพื่อสร้างบรรยากาศความเป็นนานาชาติด้านวิชาการของมหาวิทยาลัย Staff and Student Exchange
|
60.0%
|
4.4 หลักสูตรเรียนรู้ตลอดชีวิต (Module / MOOC / Short course)
|
35.0%
|
4.4.1 เร่งรัดการออกข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ที่เกี่ยวข้องกับคลังหน่วยกิต, การเรียนล่วงหน้า
|
20.0%
|
|
50.0%
|
|
86.0%
|
5.1 วิเคราะห์ค่างาน และนำข้อมูลมาใช้ประกอบการบริหารงานบุคคลอย่างเหมาะสม
|
70.0%
|
5.2 แผนอัตรากำลังระยะ 5 ปี (65-69)
|
80.0%
|
5.3 แผนพัฒนาบุคลากรตามสายอาชีพและกลุ่มงาน (5 กลุ่มงาน)
|
100.0%
|
5.4 ระบบกาบริหารงานบุคคลที่รองรับการทำงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกของบุคลากร
|
80.0%
|
5.5 นโยบายด้านผู้บริหารพบปะบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (Weetalk#3)
|
100.0%
|
6. นโยบายการสื่อสารองค์กร
|
70.0%
|
6.1 ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์การสื่อสารองค์กร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
|
50.0%
|
6.2 การรับรู้ขององค์กรภายนอกต่อยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย
|
60.0%
|
6.3 ผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่มหาวิทยาลัยและกิจกรรมบริการสังคม
|
80.0%
|
6.4 กิจกรรมสื่อสารเพื่อพัฒนากลยุทธ์พลิกโฉมมหาวิทยาลัย Maejo Next Step (ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2/ฝ่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
|
90.0%
|
|
80.0%
|
7.1 วิเคราะห์ค่างาน อัตรากำลัง และโครงสร้างโดยหน่วยงานภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ และนำมาใช้เป็นข้อมูลในการปรับโครงสร้างองค์กรและวางแผนอัตรากำลังอย่างเหมาะสม
|
80.0%
|
7.2 ติดตามประเมินผลส่วนงานและหน่วยงานที่จัดตั้งใหม่ หรือมีการทบทวนโครงสร้าง
|
80.0%
|
|
95.4%
|
8.1 ด้านการบริหารจัดการแบบองค์รวมมีส่วนร่วม
|
92.0%
|
8.1.1 การนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาช่วยแปลงแผนพัฒนาระดับยุทธศาสตร์ลงสู่แผนปฏิบัติการ (Strategy Deployment)
|
100.0%
|
8.1.2 การนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผลในกระบวนการทำงาน และมีแผนบริหารความเสี่ยงด้านดิจิทัล (Process Redesign)
|
100.0%
|
8.1.3 มีการพัฒนา Dashboard ทั้ง 3 ระดับชั้นในมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ระดับงานสภามหาวิทยาลัย กรรมการบริหาร และระดับคณะ
|
90.0%
|
8.1.4 จัดให้มีการพัฒนา Single Data เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน และระบบการรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล
|
100.0%
|
8.1.5 ให้มีโครงสร้างงานดิจิทัลในระดับมหาวิทยาลัยและมีการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการดำเนินภารกิจ (Structure & Budget, Structure Metrix (SPO))
|
70.0%
|
8.2 การพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทันสมัย
|
85.0%
|
8.2.1 การนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาช่วยงานบริการเพื่อประสิทธิภาพการทำงาน (Digital Service)
|
90.0%
|
8.2.2 การนำดิจิทัลเทคโนโลยีมาเปลี่ยน Business Model ใหม่ ในภารกิจการศึกษาแบบไร้ห้องเรียน ห้องเรียนระดับโลกในภารกิจเชิงยุทธศาสตร์ เปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตของสังคมเกษตรกร (Technology Lead)
|
80.0%
|
8.3 การพัฒนาทักษะบุคลากรสร้างทุนมนุษย์ โดยมีการพัฒนา Digital Literacy
|
100.0%
|
8.4 การลดความเหลื่อมล้ำ ความยากจน สังคมเกษตรกร โดยการสร้างชุมชนดิจิทัล เครือข่ายในเขตพื้นที่การศึกษา (University Community Engagement) และวิทยาเขตเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร (Digital U Community Engagement)
|
100.0%
|
8.5 ดำเนินโครงการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จของการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็น Digital University จำนวน 9 โครงการ
|
100.0%
|
9. นโยบายการบริหารจัดการแบบองค์รวมอย่างมีส่วนร่วม
|
100.0%
|
9.1 สนับสนุนให้ทุกส่วนงาน/ หน่วยงานมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
|
100.0%
|
66 MJU 1.02 ความสำเร็จของการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
90.0%
|
1. ดำเนินการวิพากษ์หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิตเรียบร้อย
|
70.0%
|
2. ได้รับการบรรจุหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชขาเทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลสัตว์ไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
|
100.0%
|
3. มีรายได้จากการให้บริการรักษาของคลินิครักษาสัตว์จำนวน 1,250,000 บาท
|
90.0%
|
4. จำนวนสัตว์ที่เข้ามาใช้บริการรักษาในคลินิกสัตว์จำนวน 1,200 ตัว
|
100.0%
|
66 MJU 1.03 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
|
98.89%
|
1. ขับบเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
98.89%
|
1.1 จำนวนโครงการวิจัยด้านเกษตรอินทรีย์
อย่างน้อย
5 โครงการ
|
100.0%
|
1.2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อย 10 เรื่อง
|
100.0%
|
1.3 Product อินทรีย์ อย่างน้อย 5 ผลิตภัณฑ์
|
100.0%
|
1.4 แหล่งเรียนรู้/ฐานเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อย 3 แห่ง
|
100.0%
|
1.5 ผู้เชี่ยวชาญด้านเกษตรอินทรีย์ 5 คน
|
100.0%
|
1.6 เกิดตลาดอินทรีย์ อย่างน้อย 1 แห่ง
|
100.0%
|
1.7 เกิดหลักสูตรระยะสั้นด้านเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อย 3 หลักสูตร
|
100.0%
|
1.8 พัฒนาระบบรองรับมาตรฐานอินทรีย์ ม.แม่โจ้ (MUU PGS)
|
100.0%
|
1.9 รายได้จากการดำเนินการด้านเกษตรอินทรีย์ 10 ล้านบาท
|
90.0%
|
66 MJU 1.04 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์กัญชงกัญชาคุณภาพสูง
|
92.0%
|
4.1 แผนยุทธศาสตร์กัญชาและกัญชง
|
70.0%
|
4.2 มีผลิตภัณฑ์ด้านกัญชงกัญชา อย่างน้อย
3 ผลิตภัณฑ์
|
100.0%
|
4.3 นวัตกรรม เทคโนโลยี และองค์ความรู้ จากกัญชาและกัญชง 2 นวัตกรรม/เทคโนโลยี
|
100.0%
|
4.4 สร้างรายได้จากกัญชาและกัญชง 10 ล้านบาท
|
90.0%
|
4.5 โครงการวิจัยและบริการวิชาการด้านกัญชาและกัญชง
5 โครงการ
|
100.0%
|
66 MJU 1.05 ความสำเร็จของการพัฒนา Product Champion
|
100.0%
|
5.1 มีเกณฑ์และกระบวนการพิจารณา Product Champion ที่เป็นที่ยอมรับ
|
100.0%
|
5.2 มีฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่ประเมินระดับ TRL จำแนกตามประเภทของ MJU Product Champion
|
100.0%
|
5.3 มีการจัดกิจกรรมเพื่อคัดเลือก Product Champion ตามข้อ 5.1 เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์
|
100.0%
|
5.4 มีผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือก พร้อมทั้งแนวทางการพัฒนาต่อยอด
|
100.0%
|
66 MJU 1.06 ความสำเร็จของการดำเนินงานกาดเกษตรแม่โจ้
|
100.0%
|
6.1 แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการตลาดเกษตรแม่โจ้ และมีการประชุมหารือแนวทางการบริหารงานอย่างต่อเนื่อง
|
100.0%
|
6.2 จัดทำแผนบริหารจัดการพื้นที่ตลาดเกษตรแม่โจ้
|
100.0%
|
6.3 กำหนดหลักเกณฑ์การใช้พื้นที่ตลาดเกษตรแม่โจ้
เพื่อรองรับการดำเนินงาน
|
100.0%
|
6.4 พัฒนาช่องทางจำหน่ายออนไลน์
|
100.0%
|
6.5 การสร้างรายได้จากการบริหารจัดการพื้นที่ตลาดเกษตรแม่โจ้
|
100.0%
|
66 MJU 1.07 ความสำเร็จของของการพัฒนาอุทยานเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 100 ปี (MJU Centennial Botanical Park)
|
90.0%
|
1. การขยายพื้นที่ดำเนินการจากเดิมบริเวณสนามวังซ้าย
เพิ่มเติมครอบคลุมพื้นที่ด้านหน้ามหาวิทยาลัยบริเวณศาลเจ้าแม่ที่มีโครงการจัดแจงแต่งสวนเพื่อแม่
|
90.0%
|
2. การอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ไทยในบริเวณพื้นที่จัดแจงแต่งสวนเพื่อแม่ และโดยรอบมหาวิทยาลัย
|
90.0%
|
3. สร้างความร่วมมือกับทุกส่วนงานในการตกแต่งบริเวณด้านหน้าอาคารส่วนงานที่รับผิดชอบ
|
90.0%
|
66 MJU 1.08 ความสำเร็จของการพัฒนา Green Valley @ Maejo Phrae
|
100.0%
|
1. พัฒนาด้านกายภาพและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ มีกายภาพ สภาพแวดล้อมที่ดี มีภูมิทัศน์สวยงามน่าอยู่ มีความปลอดภัย มีโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาอย่างยั่งยืน)
|
100.0%
|
1.1 ยกระดับและพัฒนาฟาร์มมหาวิทยาลัยให้เป็นระบบการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
|
100.0%
|
1.2 สำรวจ จัดหาแหล่งน้ำดิบสำรอง หรือแหล่งน้ำใต้ให้เพียงพอต่อการใช้ในฟาร์มและการอุปโภคบริโภค
|
100.0%
|
1.3 ผลักดันมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ ให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวอย่างยั่งยืน
|
100.0%
|
2. พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถการแข่งขันด้านการจัดการศึกษา (เป้าหมาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้- แพร่ ยกระดับศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการจัดการศึกษากับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง)
|
100.0%
|
2.1 ผลักดันการเพิ่มจำนวนนักศึกษาใหม่ให้ได้ปีละ 500 คน (นักศึกษารวมทั้งในและนอกห้องเรียนไม่ต่ำกว่า 2,000 คน จัดการเรียนการสอนแบบModule, Re-skill, Up-skill และการเรียนรู้ตลอดชีวิต)
|
100.0%
|
2.2 สนับสนุนการโครงการจัดตั้งวิทยาลัยการป่าไม้ และหลักสูตรการป่าไม้
|
100.0%
|
2.3 สนับสนุนให้มีการปรับปรุงหลักสูตรกลุ่มทางด้านเกษตรศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ให้เป็นหลักสูตรบูรณาการหรือสหวิชาการที่มีจุดเน้นเพิ่มเติมทางด้าน ศาสตร์พระราชา ภูมิสังคมอย่างยั่งยืน การพัฒนาอย่างยั่งยืน
|
100.0%
|
2.4 สนับสนุนให้มีการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรกลุ่มทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ตรงกับหลักแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ ขับเคลื่อนกลไกเศรษฐกิจเพื่ออนาคต
|
100.0%
|
2.5 พัฒนาและปรับปรุง เครื่องมือ ห้องปฏิบัติการ ให้มีความพร้อมในการเรียนรู้รูปแบบใหม่
|
100.0%
|
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในในการจัดการศึกษา ฝึกอบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีและส่งเสริมนวัตกรรมในระดับอาเซียน (เป้าหมายมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ในระดับอาเซียน)
|
100.0%
|
3.1 การฝึกอบรม ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรไทย-อาเซียน
|
100.0%
|
66 MJU 1.09 ความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ Well-Being @ Chumporn
|
100.0%
|
1. พัฒนาด้านกายภาพ ระบบนิเวศนวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีกายภาพ
ระบบนิเวศน์นวัตกรรม สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ที่สวยงาม
มีโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาอย่างยั่งยืน)
|
100.0%
|
1.1 พัฒนาฟาร์มเกษตรสมัยใหม่ครบวงจร
|
100.0%
|
1.2 พัฒนาฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจชายฝั่งทะเล
|
100.0%
|
1.3 พัฒนาฟาร์มเกษตรอินทรีย์ (โคก-หนอง-นา/สวน) ตามศาสตร์พระราชา
|
100.0%
|
1.4 พัฒนาโรงงานผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูป
|
100.0%
|
2. พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถการแข่งขันด้านการจัดการศึกษา (เป้าหมาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการจัดการศึกษารูปแบบใหม่)
|
100.0%
|
2.1 สนับสนุนการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม
2 ด้านพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมกาสร้างนวัตกรรม
|
100.0%
|
2.2 หลักสูตรการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เทียบเรียน 2 ปี (หลักสูตร 1 ปี +1 ปี ทำงาน) นำร่อง
|
100.0%
|
2.3 พัฒนาหลักสูตรเรียนล่วงหน้า ในระดับ ปว.ส ภายใต้ความร่วมมือ วว ,วช,สวทช, 9 มทร, มก, มอ, ม.วลัยลักษ์, ม.แม่โจ้ และวิทยาลัยอาชีวศึกษา
|
100.0%
|
2.4 จัดการศึกษาร่วมกับสมาคมด้านวิชาชีพต่าง ๆ (สมาคมเรือสำราญ) , ผู้ประกอบการธุรกิจ (CP)
|
100.0%
|
2.5 หลักสูตรฝึกอบรม Module , upskill, Reskill
|
100.0%
|
3. แสวงหารายได้และการสร้างความมั่นคงยั่งยืนมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในระยะยาว (เป้าหมาย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร มีรายได้เพียงพอต่อการพัฒนาและอยู่รอดในระยะยาว)
|
100.0%
|
3.1 เกิดเครือข่ายตลาด แม่โจ้ เชียงใหม่-แพร่-ชุมพร
|
100.0%
|
3.2 เกิดผลิตภัณฑ์แบรนด์แม่โจ้ชุมพร
|
100.0%
|
3.3 พัฒนาฟาร์มพืช มหาวิทยาลัยเป็นฟาร์มผลิตเกษตรเชิงพาณิชย์ที่ได้มาตรฐานเกษตร
|
100.0%
|
3.4 พัฒนา MOU/MOA ในการใช้ทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นในระยะยาว
|
100.0%
|
3.5 พัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานเพื่อลดค่าใช้จ่าย
|
100.0%
|
3.6 พัฒนาหลักสูตรฝีกอบรม วิจัย บริการวิชาการ
|
100.0%
|
3.7 เพิ่มจำนวนนักศึกษาให้มากขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา
|
100.0%
|
66 MJU 1.10 ความสำเร็จในการสร้างพิพิธภัณฑ์เกษตร
|
100.0%
|
1. จัดทำคำของบประมาณในการจัดสร้างในปีงบประมาณพ.ศ.2567
|
100.0%
|
1.1 ดำเนินการจัดทำคำของบประมาณในหมวด สิ่งก่อสร้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
|
100.0%
|
2. เตรียมความพร้อมในการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เกษตร
|
100.0%
|
2.1 จัดทำแนวทางการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์นวัตกรรมการเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อการเผยแพร่องค์ความรู้ของ อพ.สธ.-มจ. และองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผ่านการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการนำไปใช้ประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมาย
|
100.0%
|
2.2 จัดทำแนวทางการบริหารจัดการการใช้พื้นที่ การดูแลรักษา การสร้างมูลค่าให้กับพื้นที่พิพิธภัณฑ์นวัตกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน
|
100.0%
|
2.3 ดำเนินการออกแบบพื้นที่ และกิจกรรมที่สนับสนุนการเรียนการสอนในศตวรรษที่21 และ การเรียนรู้ตลอดชีวิต
|
100.0%
|
2.4 ดำเนินการออกแบบการจัดกิจกรรม การอบรมหรือหลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนาทักษะสำหรับ นักเรียนและนักศึกษา ผู้สูงอายุ เกษตรกรและชุมชน ผู้ประกอบการ และกลุ่มวิชาการ
|
100.0%
|
2.5 การบูรณาการกับหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
|
100.0%
|
3. การเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพงานประชุมวิชาการและนิทรรศการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ประจำปี 2568
|
100.0%
|
3.1 กำหนดแนวทางการจัดกิจกรรมที่จะจัดประชุมปี 2568
|
100.0%
|
3.2 ดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมด้านการบริหารจัดการนิทรรศการพิพิธภัณฑ์นวัตกรรมการเกษตร
|
100.0%
|
3.3 ผลงานเด่นที่จะนำเสนอในการจัดงาน (3 พื้นที่) อย่างน้อย 10 ชิ้นงาน
|
100.0%
|
66 MJU 1.11 ความสำเร็จในการพัฒนาหลักสูตรแพทย์แผนไทย
|
50.0%
|
1. ความสำเร็จของการจัดทำแผนการดำเนินงานโครงการศูนย์ธรรมชาติบำบัดและการแพทย์แผนไทย
|
50.0%
|
66 MJU 1.12 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming)
|
100.0%
|
1. เกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านเกษตรอัจฉริยะ 10 นวัตกรรม
|
100.0%
|
2. เกิดโครงการวิจัยด้านเกษตรอัจฉริยะ 10 โครงการ
|
100.0%
|
3. ขยายเครือข่ายด้านเกษตรอัจฉริยะเพิ่มขึ้น 10 แห่ง
|
100.0%
|
4. มีแผนการบริหารจัดการเครือข่ายเกษตรอัจฉริยะ
|
100.0%
|
5. มีงบประมาณสนับสนุนจากแหล่งทุน ไม่น้อยกว่า 5 ล้าน
|
100.0%
|
6. จำนวนหลักสูตรระยะสั้นด้านเกษตรอัจฉริยะอย่างน้อย 3 หลักสูตร
|
100.0%
|
7. เกิดผู้ประกอบการ /Young Smart Farmer 20 คน
|
100.0%
|
8. จำนวนชุมชนที่ได้รับประโยชน์จากการดำเนินการ 3 ชุมชน(พื้นที่) /...คน
|
100.0%
|
มิติที่ 3 การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
|
98.00%
|
66 MJU 3.01 ความสำเร็จของการเป็นผู้นำเครือข่ายสถาบันการศึกษาด้านการเกษตรระดับนานาชาติ
|
98.0%
|
1. ความสำเร็จในการจัดทำแผนกลยุทธ์การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ระดับนานาชาติ
|
100.0%
|
2. จัดการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติ อย่างน้อย 5 ครั้ง
|
100.0%
|
3. การพัฒนาหลักสูตรความร่วมมือ
|
90.0%
|
4. การพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นนานาชาติ
|
100.0%
|
5. ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศให้มากขึ้น
|
100.0%
|